Page 6 - 0965
P. 6

กองการสงเคราะห์

                                                                                     www.songkhro.com
                                                                 8.อยู่ระหว่างหาทางออกจากที่เกิ เหตุ หากมีควัน

                                                         มากพยายามก้มต ่าหรือคลาน เพราะออกซิเจนจะลอยอยู่ที่ต ่า









     การเอาตัวรอดจากไฟไหม้ ความรู้ที่ควรมีติดตัว
            สถานการณ์ไฟไหม้ เป็นเรื่องที่เกิ ขึ้นฉับพลันและ
     สามารถคร่าชีวิตผู้ประสบภัยไ ้ ท าให้ทุกคนไม่ว่าใครก็ตาม

     ควรมีความรู้เบื้องต้นในการเอาตัวรอ จากไฟไหม้ติ ตัวไว้
     ใช้ในยามคับขัน                                      การช่วยเหลือผู้อื่นจากสถานการณ์ไฟไหม้

     วิธีการเอาตัวรอดจากสถานการณ์ไฟไหม้                          - หากอยู่ในสถานการณ์คับขันให้รีบพาผู้ประสบภัย
            1. ตั้งสติแล้วรีบพาตัวเองออกมาจากที่เกิ เหตุให้  ออกมาจากที่เกิ เหตุให้เร็วที่สุ
     เร็วที่สุ                                                     - หากเพลิงไหม้สงบลงแล้ว การช่วยเหลือ ผู้ประสบภัย

            2. พยายามหลีกเลี่ยงการสู ควันต่าง ๆ เข้าไป   ควร ูแลเรื่องกระ ูกต้นคอเป็นหัวใจส าคัญโ ยการขนย้าย
     เพราะอาจท าให้ร่างกายขา ออกซิเจน ทั้งยังไ ้รับสารเคมี   ้วยเปลหรือเบาะ อย่าหิ้วแขนหรือ ยกศีรษะห้อยลงในขณะ

     ต่าง ๆ ที่เป็นอันตรายต่อระบบทางเ ินหายใจ            เคลื่อนย้าย เพราะอาจท าให้กระ ูกเคลื่อนไ ้
            3. เอาผ้าชุบน ้าปิ จมูก หรือหาผ้าห่มชุบน ้าแล้ว      - กรณีที่ผู้ประสบภัยถูกไฟครอกจนเสียหายรุนแรง
     ห่มตัว จากนั้นรีบหาทางออกมาจากที่เกิ เหตุ           หลังช่วยเหลือออกจากที่เกิ เหตุไ ้แล้ว ให้รีบถอ หรือตั

            4. หากอยู่ในห้อง อย่าเพิ่งรีบเปิ ประตู ควรจับ  เสื้อผ้าออกจากร่างกายผู้ประสบภัย เพราะเสื้อผ้าจะอม

     ประตูก่อนเพื่อ ูว่าร้อนหรือไม่ หากรู้สึกร้อนนั่นหมายถึง  ความร้อนเอาไว้มาก แต่อย่าใช้วิธีกระชาก เพราะเนื้อผ้า
     อาจมีไฟอยู่หลังประตู จึงไม่ควรเปิ เพราะ จะท าให้ควันไฟ  บางส่วนอาจติ ที่บริเวณผิวหนัง ท าให้ผิวหนังหลุ ออกมา

     เข้าห้อง ควรหาผ้าหรืออื่น ๆ มาอุ ตรงประตู เพื่อป้องกัน   ้วย
                                                                 - ถอ เครื่องประ ับ เช่น นาฬิกาข้อมือ ก าไล ต่างหู
     ไม่ให้ควันไฟเข้ามาในห้องไ ้                         ออกจากตัวผู้ประสบภัย เพราะของเหล่านี้อมความร้อนจะ
            5. หากติ อยู่ในห้องพยายามส่งสัญญาณขอความ
     ช่วยเหลือ เช่น ส่องไฟมือถือออกไปทางหน้าต่างเพื่อให้  ท าให้เกิ การพอง
                                                                               ุ
     ภายนอกรู้ว่ามีคนต้องการความช่วยเหลืออยู่                    - ใช้น ้าสะอา อณหภูมิปกติร ตัวผู้ประสบภัย
            6. หลีกเลี่ยงการใช้ลิฟต์ ควรใช้บันไ หนีไฟแทน   เพื่อล ความร้อนให้กับร่างกาย
            7. หลีกเลี่ยงการวิ่งหนีเข้าจุ อับ





                                 สวัสดิการสาร                  กันยายน 2565                               6
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11